Enjoying your free trial? Only 9 days left! Upgrade Now
Home Explore หนังสือชีวะประวัติคุณสุชัยวีระเมธีกุล
Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes! Create your own flipbook
View in Fullscreen

หนังสือชีวะประวัติคุณสุชัยวีระเมธีกุล

Published by nutnalee, 2020-11-07 18:42:48

Description: หนังสือชีวะประวัติคุณสุชัยวีระเมธีกุล

Keywords: หนังสือชีวะประวัติคุณสุชัยวีระเมธีกุล

Read the Text Version

No Text Content!

李景河主席陪同张德维大使一行拜访泰皇姐殿下。 นายสุชัย วีระเมธีกุล กับนายจางเต๋อเหวย เอกอัครราชทูตจีนประจำ�ประเทศไทย เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา 200 李景河传 2002年,李景河主席进宫宠蒙朱拉蓬公主御赐勋章。 ค. ศ. 2002 สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟา้ จุฬาภรณวลยั ลักษณ์ อคั รราชกุมารี พระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ให้นายสุชัย วีระเมธกี ลุ 2003年,皇室长公主乌汶叻幸临主持康乐酒店开业庆典,李景河主席、华润集 201 团董事长陈建新、英国康乐酒店董事长等与公主亲切交谈。 ค.ศ. 2003 ทลู กระหมอ่ มหญงิ อบุ ลรตั นราชกญั ญา สริ วิ ฒั นาพรรณวดี เสดจ็ เปน็ องค์ ประธานเปดิ งานฉลองครบรอบ 1ปี โรงแรมConrad กรงุ เทพ โดยมนี ายสชุ ยั วรี ะเมธี กลุ และนายเฉนิ เจย้ี นเซนิ ประธานกรรมการบรษิ ทั China Resouces (Holding) เฝา้ รบั เสดจ็ 李景河传 2002年,李景河主席荣获泰皇授予一等皇冠大绶勋章时与夫人合影留念。 ค.ศ. 2002 นายสุชัย วีระเมธกี ลุ ถ่ายรูปรว่ มกับภรรยาหลังจากไดร้ ับพระราชทาน เครอื่ งราชอิสริยาภรณป์ ระถมมาภรณม์ งกฎุ ไทย 202 李景河传 心系社稷 视扶贫救灾慈善事业为己任 李景河一生心系社稷,奉献社会,献计献策,是华社领袖商界翘楚。 李景河博士境界广阔而高远,天性善良,乐于助人,视野超越家族和个人的事 业。他一直以来热心公益事业,以救灾、助医、助学等慈善事业为己任。 李景河是北榄养老院荣誉主席。1996年,他捐款给北榄养老院。李景 河每逢寿诞,他都会偕夫人及子女赴北榄养老院看望老人,赞助养老院基金, 并发送红包给养老院的老人们。李景河还热心赞助泰国华侨医院、捐拉玛医 院病房一间 2,000,000 铢。2004年12月,泰国南部六府遭受空前海啸灾难, 李景河捐款100万铢。2008年5月16日,李景河向中国四川汶川地震灾区捐款100 万铢等。 李景河主席偕夫人生日到北揽养老院捐款作慈善,陈延寿主席接领。 นายสชุ ยั วรี ะเมธีกลุ และภรรยา บรจิ าคทนุ ทรัพยเ์ พอื่ การกศุ ลใหแ้ ก่บ้านพักคนชราปากน้ํา ในวนั คล้าย วันเกดิ โดยมีนายเฉิน เหยียนโซว่ เป็นผรู้ ับมอบเงนิ บรจิ าคดังกล่าว 李景河传 203 2011年,李景河主席携孙儿李长治、与皇太后大学校董会主席抛·沙拉信警上将、皇太后大学校长 旺猜一起到清莱山区给村民和学生赠送寒衣。 ค.ศ.2011 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ พา นายปพน หลานชาย กบั พลต�ำ รวจเอก เภา สารสนิ ประธานสภาของมหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง และรองศาสตราจารย์ ดร.วนั ชยั ศริ ชิ นะ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวงไปมอบเสอ้ื กนั หนาวใหแ้ ก่ ชาวเขาและนกั เรยี นจงั หวดั เชยี งราย 204 李景河传 李景河主席在生日到北揽养老院捐款送红包给养老院的老人。 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ ไปแจกอง่ั เปาแกค่ นชราในบา้ นพกั คนชราปากนา้ํ 李景河传 205 2015年7月5日,李景河主席乐助天华慈善医院洗肾基金会200万泰铢,由朱春隆董事长接领、张潮江副董事 长、马灿伟副董事长兼财政,李景河先生令公子李天才合影。 วันท่ี 5 กรกฎาคม ค.ศ.2015 นายสุชัย วีระเมธีกุล บริจาคเงิน 2 ล้านบาทแก่กองทุนการฟอกไต โรงพยาบาล มูลนิธิเทียนฟ้า มีนายชวลิต กาญจนชัยภูมิ ประธานกรรมการเป็นผู้รับมอบ และได้ถ่ายรูป ด้วยกันกับ นายสุชาติ เศรษฐวรรณ รองประธานกรรมการ นายชาญวิทย์ หิรัญอัศว์ กรรมการเหรัญญิก และ นายฉตั รชยั วีระเมธีกลุ 206 李景河传 敬重桑梓 热心助学修美德 树影再长,也离不开根牵系。热心家乡的兴学育才和各项福利事 业,造福桑梓,报效故里是潮籍乡亲的传统美德。 泰国的潮汕人继承了天下潮人热爱故国故乡的光荣传统,对于桑梓 的社会福利事业十分关心,一旦事业有成,必回报故土。他们修桥造路, 办学育才,兴建医院、养老院,改善饮水条件等,遍及潮汕各地,数不胜 数,为侨乡的社会和经济的发展做出了不可磨灭的贡献。 李景河出生在中国,成长在中国和泰国,深受中国传统文化的熏 陶,他对故土心存深深的眷念。他是一个成功的商人,不但在泰国做了大 量的慈善工作,在中国同样是一位热心社会公益福利事业、热爱家乡的慈 善家。 1976年,李景河回家乡普宁探亲。当他看到当年读书的小学已经太 小、太旧,就和泰国乡亲一起联合捐款赞助母校敬爱学校,建立新的教学 楼,为家乡的教育事业贡献心力。此外,李景河还捐款赞助潮汕历史文化 研究传播基金会,并获基金会聘请为名誉会长;随后,李景河又捐款赞助 汕头市教育基金会帮助潮汕贫穷地区教师的福利基金,并获聘任为汕头市 教育基金会名誉会长。 1993年,李景河为促成家乡普宁撤县设市,亲赴北京寻求有关部门 支持,并支持印刷普宁撤县设市纪念特刊《南粤新城普宁市》。 李景河传 207 1989年,李景河主席在帕提亚别墅欢迎 中国潮籍官员:司法部长蔡诚、汕头市 委书记林兴胜、汕头市长陈燕发、汕头 市长吴波等。 ค.ศ.1989 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ ใหก้ ารตอ้ นรบั นายไช่ เฉิง รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงยตุ ิธรรม นายหลนิ ซงิ เซง่ิ เลขาคณะกรรมการเมอื งซวั เถา นายเฉิน เยียนฟา อดีตผู้ว่าการเมืองซัวเถา นายหวู ปอ ผู้วา่ การเมืองซวั เถา ณ บา้ นพกั ตากอากาศ พทั ยา 1993年,李景河主席、李天文博士在 汕头拜访汕头市委书记许德立、市长周 日方等。 ค.ศ.1993 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ ดร.วรี ะชยั วรี ะ- เมธีกุล เข้าเยี่ยมคารวะนายสฺว่ี เต๋อล่ี เลขา คณะกรรมการเมอื งซวั เถา และนายโจว รอ่ื ฟาง ผู้ว่าการเมืองซวั เถา 1996年1月,李景河主席偕夫人及男 女公子在私邸接待揭阳市委书记陈喜 臣一行。 เดอื นมกราคม ค.ศ.1996 นายสุชยั วรี ะเมธีกลุ และภรรยา พรอ้ มดว้ ยบตุ รธดิ า ใหก้ ารตอ้ นรบั นายเฉิน ส่ีเฉิน เลขาคณะกรรมการเมือง เจีย๋ หยาง ณ คฤหาสนซ์ อยเอกมัย 208 李景河传 1998年,李景河主席与汕头市委书记庄 礼祥、市长李春洪等合影留念。 ค.ศ.1998นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ นายจวงหลเี สยี ง เลขาคณะกรรมการเมืองซัวเถา และนายหล่ี ชุนหง ผวู้ า่ การ ถ่ายรูปดว้ ยกนั 2003年11月,李景河主席及夫人在私 邸欢迎汕头市委书记李统书、市长黄志 光、常务副市长陈奕威、副市长陈茸等 一行访泰。 เดือนพฤศจิกายน ค.ศ.2003 นายสุชัย วรี ะเมธกี ลุ และภรรยา ใหก้ ารตอ้ นรบั คณะของ นายหล่ี ถ่งซู เลขาคณะกรรมการเมืองซัวเถา และคณะทมี่ าเยือนประเทศไทย 2008年8月,李景河主席欢迎汕头市委 书记林木声一行访泰,同行的有汕头市 领导陈奕威、林静辉、陈茸、郑丰任 等,宾主互赠礼品。 เดอื นสงิ หาคม ค.ศ.2008 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ ให้การต้อนรับคณะของนายหลิน มู่เซิง เลขา คณะกรรมการเมืองซัวเถาที่เดินทางมาเยือน ประเทศไทย 李景河传 209 1 9 8 8 年 , 李 景 河 主 席 为 发 展 教 育 事 业 热 心 赞 助 华 侨 崇 圣 大 学 一 千 一 百 万 铢 , 郑 午 楼 博 士 、 胡玉麟董事长接领,宾主合影留念。 ค.ศ.1988 นายสชุ ยั วรี ะเมธีกุล บรจิ าคเงินจำ�นวน 11,000,000 บาทเพอ่ื ชว่ ยพัฒนาการศึกษาของมหาวทิ ยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกยี รติได้ โดยมดี ร.อุเทน เตชะไพบลู ย์ และดร.สมาน โอภาสวงศ์ เป็นผู้รับมอบ 210 李景河传 1990年,李景河主席到总理府捐款救灾,察猜·春哈旺上将总理接领捐款。 ค.ศ.1990 นายสชุ ัย วรี ะเมธีกลุ บริจาคเงินชว่ ยเหลอื บรรเทาภยั พลเอกชาติชาย ชณุ หะวณั อดีตนายกรฐั มนตรี เป็นผรู้ บั มอบเงินบริจาค 李景河传 211 佛恩感召 为建设潮州淡浮院献策出力 今天,在潮州市的红山森林公园,有一座由旅泰潮人郭丰源先生主持建 设的淡浮院。这是郭先生晚年倾全力并得到各界赞助所建的。主建筑交泰殿是 淡浮院的文化中心,凝结着泰中两国人民的友谊和文化结晶。因集中泰两国之 文化瑰宝,收儒道释三家之典藏,殿名“交泰”,蕴含中泰文化交流之意。现 在,潮汕淡浮院别具一格的建筑风格,独特的文化内涵成为潮汕旅游热点,泰 国潮汕人每来潮汕也必到淡浮院。 这座驰名中泰的建筑有李景河的一份功劳,他捐款赞助了潮汕市淡浮院 建筑大门牌楼的费用。其实,李景河先生不仅捐建了牌楼,他还是潮汕淡浮院 建设的促成者之一。同时李景河是曼谷淡浮院的名誉院长。 1987至1988年间,李景河常常到汕头探亲、访友、考察。每到汕头, 他通常都入住汕头国际大酒店。常来常往,李景河和这家四星级酒店的酒店董 事长和总经理李闻海先生成了好朋友。当时,隶属汕头国贸集团的汕头国际大 酒店在潮汕红山森林公园购买了一块风景秀丽的地方,拟开发为观光酒店。但 是,具体要怎么开发还没列入议事日程,李闻海请李景河帮忙出主意。 碰巧有一次,泰国淡浮院院长郭丰源先生与李景河同机去汕头,郭院长 准备住在华侨大厦,李景河建议他住汕头国际大酒店。在李景河的推荐和安排 下,郭院长也住进了汕头国际大酒店,李景河还特别介绍了酒店总经理李闻海 与郭丰源院长认识。李闻海总经理非常高兴,对郭丰源院长主持的泰国淡浮院 非常敬仰。郭院长和李闻海两人很投缘,李闻海向郭院长询问泰国淡浮院的事 情,郭丰源院长如数家珍,细细介绍泰国淡浮院的情况并邀请李闻海去参观。 李景河见此情形,就向郭丰源院长提议道:您何不在潮汕也建一个淡浮 院?李闻海在一旁听到李景河谈起在潮州建淡浮院的事情,马上就想到了汕头 国际大酒店在潮汕市所拥有的那块地。郭院长一听这块地也很感兴趣,希望去 看看。第二天,李闻海就陪着郭老去了一趟潮汕,发现真是一块风水宝地,便 初步确定兴建潮汕淡浮院。 在不经意之间,李景河又成就了这样一件对泰中友好文化交流合作很有 意义的事情。 在李景河的协调和沟通下,泰国淡浮院出资购买了汕头国际大酒店在潮 汕的这块地,潮汕淡浮院成为泰中友好的一个富有意义的建筑景点。潮汕淡浮 院的总体建设,由汕头国际大酒店总经理李闻海先生负责实施执行,李闻海出 任潮汕淡浮院院长。 在泰中两国政府的支持和协助下,潮汕淡浮院圆满落成了,如今已成为 潮州市四大著名景点之一。 212 李景河传 2000年10月,李景河主席、郭丰源院长、张潮江主席三结拜兄弟在潮州淡浮院前合影留影。 เดือนตลุ าคม ค.ศ. 2000 นายสุชัย วรี ะเมธีกุล อาจารยส์ งา่ กลุ กอบเกยี รติ และนายสชุ าติ เศรษฐวี รรณ พ่นี อ้ งรว่ มสาบานทง้ั 3 ทา่ น ถา่ ยรปู หนา้ วิหารเซียนทีแ่ ตจ้ ว๋ิ 2005年2月,潮州淡浮院交泰殿开幕,李景河主席与前总理素真达上将、谢国民董事长、苏旭明董事长、 陈汉士董事长以及潮州市委书记、市长等联合主持开幕典礼。 เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.2005 พิธีเปิดตำ�หนักเจียวไท่ วิหารเซียนท่ีแต้จ๋ิว นายสุชัย วีระเมธีกุล พลเอกสุจินดา คราประยรู  นายธนนิ ท์ เจยี รวนนท์ นายเจรญิ สริ วิ ฒั นภกั ดี ดร.ไกรสร จนั ศริ ิ และผวู้ า่ เมอื งแตจ้ วิ๋ รว่ มกนั เปน็ ประธานในพธิ ฯี 李景河传 213 1995年,李景河主席赞助建造中国广东潮州淡浮院门牌楼的全部费用。 ค.ศ.1995 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ สนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยทง้ั หมดในการสรา้ งซมุ้ ประตวู หิ ารเซยี นทแ่ี ตจ้ ว๋ิ มณฑลกวางตงุ้ 214 李景河传 荣获华侨崇圣大学荣誉博士学位 李景河在事业取得成功的同时,不忘回馈社会,尤其是在文化教育方 面,他更是不遗余力。 泰国华侨崇圣大学1991年正式创建,是泰国第一所由华人独资兴建管理 的大学。对弘扬中国传统文化,密切泰中关系具有深远意义。李景河为泰国华 侨崇圣大学创办人之一,他为兴建大学捐款1100万铢。该大学目前设立11个学 院,拥有师生7000多人。 2005年10月10日,华侨崇圣大学召开年度第五次会议,通过授名誉博士 学位予在科研上有重要业绩、对泰中友好关系有突出贡献、对社会起模范作用 的人士。李景河与罗豪才、谢国民同时荣获华侨崇圣大学授予荣誉博士学位。 华侨崇圣大学校长许树镇教授在对李景河先生的赞词中说,李景河先生 在泰国工商企业管理和积极推进泰国经济方面均有卓越的表现,并且取得了显 著的成就。此外,他还在中国上海设立了首家外资独资银行总行 --- 泰华国 际银行,开展金融方面的业务,与此同时也发展若干相关的业务,他还积极推进泰 中友好关系的发展,他的成功,主要是具有远大眼光,并能够发挥企业管理的优 势。华侨崇圣大学创立之时,李景河先生也是创校人之一。他的声名远播,四 海咸知,故此,华侨崇圣大学特授予他企业管理学名誉博士学位,以表彰他的 业绩与品德。 李景河担任泰中促进投资贸易商会主席18年来,一直关注泰国与中国经 济发展趋势。由于事业合作关系,李景河经常出国与各地工商领袖会晤,交换 信息与意见,见识广博,声望卓著。他曾任泰国国务院总理经济顾问、国会主 席顾问和泰国外交部长经济顾问等。 1989年,他认为八十年代末泰国工商业发展十分迅速,每年经济成长达 两位数字,固然可贺可喜,但因公共设施进度缓慢,跟不上发展需求。如道路 扩建计划一拖再拖,电话及国际通讯设备落后,水电供应不足,码头工作效率 低下。李景河及时向政府部门提出存在的问题,希望政府加紧推进公共事业建 设,解除投资障碍,不要影响国外投资。李景河先生谦逊务实,他的真知灼见 引起了政府的重视。 李景河传 215 2006年,李景河主席、与中国政协副主席罗豪才、正大集团董事长谢国民董事长荣获华侨崇圣大学授予企 业管理荣誉博士学位。 ค.ศ.2006 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ นายธนนิ ท์ เจยี รวนนท์ และนายหลวั หาวไฉ รองประธานสภาทป่ี รกึ ษาการเมอื งจนี ไดร้ บั ปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดจ์ิ ากมหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ 2006年,李景河主席与谢国民董事长、罗豪才副主席荣获华侨崇圣大学授予荣誉博士学位后与家人 合影留念。 ค.ศ.2006 นายสชุ ัย วีระเมธีกุล นายธนินท์ เจยี รวนนท์ และนายหลวั หาวไฉ ไดร้ ับพระราชทานปรญิ ญาดุษฎีบัณฑิต กิตตมิ ศกั ดิ์จากมหาวิทยาลยั แมฟ่ า้ หลวง ไดถ้ ่ายรูปร่วมกบั สมาชกิ ครอบครัวของนายสุชัย วรี ะเมธีกลุ 216 李景河传 2006年,李景河主席与松奇博士、三公子李天文博士欢聚。 ค.ศ.2006 นายสุชัย วรี ะเมธกี ลุ ดร.สมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ์ กับ ดร.วีระชัย วรี ะเมธกี ุล ถ่ายรปู ด้วยกัน 李景河传 217 再获皇太后大学荣誉博士学位殊荣 2011年2月14日,皇太后大学举行隆重颁发仪式,由诗琳通公 主殿下亲自授予李景河工商管理荣誉博士学位,以表彰他为经济发展 和社会进步所做出的贡献,仪式庄重感人!李景河以85岁高龄获此殊 荣,可喜可贺! 中国驻泰王国大使管木及夫人、前中国驻泰王国大使傅学章及 夫人、皇太后大学校董会主席抛 沙拉信警上将、皇太后大学校长汪猜 博士、侨领及好友陈汉士博士、杨胜辉博士、卢岳胜及夫人、李绍祝 及夫人、陈绍扬、蔡礼任、马灿伟及夫人、陈振治及夫人、萧鸿洽、 赵伟、陈其生、李夏英、韩宗渭等以及李景河子女李天城、李慧君、 李静君等前往清莱参加他的博士学位颁发仪式并祝贺他的殊荣。 9. 2011年,李景河主席宠蒙诗琳通公主 殿下 颁发皇太后大学荣誉博士学位。 ค.ศ. 2011 สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระราชทานปริญญาดษุ ฎบี ัณฑิต กติ ตมิ ศักด์แิ กน่ ายสชุ ยั วรี ะเมธีกุล ณ มหาวิทยาลัยแมฟ่ า้ หลวง 218 李景河传 2011年2月,李景河主席荣获皇太后大学授予荣誉博士学位,发表获奖感言。 เดือนกมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ.2011 นายสุชยั วีระเมธีกุลกลา่ วแสดงความรู้สึกทีไ่ ดร้ ับพระราชทานปริญญาดษุ ฎีบณั ฑิต กิตตมิ ศกั ด์ิ ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 李景河主席的二公子李天城、大公主李慧君、小公主李静君与友人一起祝贺李景河主席荣获皇太后大学荣 誉博士学位。 นายนครนิ ทร์ วรี ะเมธกี ลุ บตุ รชายคนรอง นางนงลกั ษณ์ บตุ รสาวคนโต และคณุ ฉนั ทนา บตุ รสาว คนเลก็ กบั เพอื่ นๆ ร่วมแสดงความยินดีเนื่องในโอกาสที่นายสุชัย วีระเมธีกุล ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวทิ ยาลยั แม่ฟา้ หลวง 李景河传 219 2011年3月,李景河主席荣获 泰国 皇太T后大学荣誉博士学位留影。 เดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 นายสุชัย วีระเมธีกุล ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิต กติ ตมิ ศักด์สิ าขาบรหิ ารธุรกิจจากมหาวทิ ยาลยั แม่ฟ้าหลวง 220 李景河传 美满家庭 泰中文化佳典范 李景河把中华民族与泰民族优秀的传统文化、生活方式、风俗习惯融 为一体,成就了自己辉煌的一生!李景河一生勤奋、执着、坚韧,在泰国创造 了辉煌的事业,谱写了令人向往的“福禄寿”三全的人生境界。泰国前副总理 抛•沙拉信警上将,在李景河生日时说:“李主席事业成就辉煌,男成龙,女成 凤,家庭和睦,完美的人生,乃世上最幸福的人!”诚哉斯言! 李景河先生的事业和人生的巨大成就,贤内助李江玉英女士居功阙伟。 李景河抵泰不久,就认识了秀外慧中的普宁籍同乡姑娘李江玉英。李江玉英是 移民第二代,自小接受父母亲传统的潮汕文化教育。李江玉英女士端庄美丽, 聪慧贤良,结婚之前喜欢做些服装裁剪的工作。李江玉英女士心地善良,性格 温和,富有教养,对子女的教育一刻也没有放松。她还有中文的基础,能看得 懂中文报,说一口流利的潮汕话。 李景河是一个事业心很强的人,对家庭有强烈的责任感。他通过自己的 辛勤耕耘,为夫人及子女创造了一个良好的生活环境。作为一个父亲,他严于 律己,言传身教,用行动给孩子树立了榜样。在孩子们的眼里,父亲总是很努 力地寻找各种商业机会,不会轻易放过任何机会。孩子们非常崇拜他:父亲是 一个成功的事业家,为社会、为国家努力奉献,具有责任心和慈爱心。 李景河深刻体会到“根深才能叶茂,枝壮才能荫庇后人”的道理,所 以,他非常注意培养孩子们的炎黄子孙意识。他经常教育子女要学好中文,经 常为子女介绍中国的传统文化,他常说,“大的商业机会在中国,学好中文, 就有优势。”在李景河的教育下,他的五个子女都相当重视中国文化和中文的 学习,提高中文水平,三儿子李天文在中国的汕头和上海工作和生活了近十年 的时间,中文流利。其他几个子女基本能听和说简单的中文,尚在读书的孙辈 们也经常打电话向爷爷、奶奶请教中文。李景河鼓励孩子们去中国感受和体会 中国日新月异的巨大变化。李景河夫妇在家庭中的角色分工明确——严父慈 母。孩子们年幼时期,正是李景河开创事业的重要阶段。有时,李景河一年中 有半年时间不在家,每次李景河回到家里,总会让每个孩子汇报近况,然后, 李景河就会在孩子们的汇报中指出缺点的存在,同时给予他们指导。 李景河认为,孩子在成长,所以好的不用说,不好的一定要给他们指出 来,让他们更快进步。在李景河孩子们的记忆中,鲜有父亲的赞扬声。正如潮 李景河传 221 汕的一句俗语“惜在心,孬惜在面。”意思是疼爱儿女要从心底疼爱。严格教 子,不要流于表面,以免养成孩子娇生惯养的坏习惯,影响他们健全的人格。 李景河严于律己,不抽烟、不喝酒、不赌博,没有不良的嗜好。工作 起来一丝不苟,计划周密。一有空闲的时间,李景河就回家陪夫人和孩子。他 一年至少二次陪夫人和孩子们出国旅游考察,增长见识,同时也增进家庭的 和睦、友爱和亲情。李景河对子女的爱很有原则和分寸,从来不会去溺爱孩 子。1978年,越南、柬埔寨战争祸及泰国,李景河决定把16岁的长子李天才送 到美国西雅图读高中和大学,并购买房子置家;随后,17岁的大女儿李慧君也 跟着哥哥到美国接受教育;再后来,三儿子李天文、小女儿李静君也相继到美 国读书。孩子们在李景河的严格要求下,从小就养成了自主独立的性格和能 力。李景河夫妇一年中会在寒暑假期间去美国看看他们,了解他们的学习和生 活情况。 李景河的教子方式和许多潮人富豪在教育子女上有许多相似的做法,严 厉与宽容并存。让子女接受最好的教育,了解普通民众生活实情,从小养成自 给自足的意识;经商方面的培养上,则愿意把他们交给师傅,从底层做起,让 子女有摔打的机会,自小磨练他们的意志,对他们的人生之路并不强求按照自 己的意愿行事。 李景河通过自己的言传身教,在潜移默化中影响和熏陶每一个孩子。有 空的时候,李景河会与孩子们对一个个案例进行分析、学习。有时,几个孩子 把学校跟同学辩论的问题拿回来,跟父亲交流,总能得到新的启发,子女们非 常钦佩父亲的超前眼光和丰富的实践经验。 李景河一家俊秀,星辉闪烁,令人钦羡。李景河的长子李天才是泰国法 政大学硕士、美国西雅图华盛顿大学学士,现为明泰集团副董事长,国家互助 银行执行副董事长,泰国中国银行董事,(中国上海)泰华国际银行董事,帝 苑高尔夫球场副董事长;二儿子李天城是泰国朱拉隆功大学学士,美国西部NEW HAMSHIRE大学硕士,现任明泰集团董事总经理、长春置地有限公司董事副总经 理、泰芬芳化剂董事、他纳察信托公司董事;三儿子李天文是美国波士顿大学 硕士,泰国朱拉隆功大学培养的第一位会计学博士,1992年前往中国汕头出任 泰华国际银行汕头总行副行长,1996年出任上海泰华国际银行总行行长。李天 文博士在中国工作、居住了近10年的时间,他会中、英、泰三种语言,是泰国 优秀的会计学人才。2002年返泰受政府内阁邀请出任泰国财政部助理部长、外 交部助理部长、素拉育•朱拉暖上将总理时期任政府内阁副秘书长,2008年底出 222 李景河传 任新政府部长,2009年出任国务院事务部长,2010年出任科技部长。长女李慧 君是美国西雅图华盛顿大学学士,泰国朱拉隆功大学企业管理硕士,任明泰工 业有限公司董事长,联合基金大众公司常务董事,次女李静君是泰国朱拉大学 企业管理硕士,美国波士顿大学会计学学士,美国华盛顿大学学士,现出任美 地君有限公司董事长。 李景河不仅是儿女们生活中的严父,更是他们事业上的导师。李天才 回忆说,作为长子,他从小跟着父亲到中国和世界各地参加各种商业和经贸活 动,认识了很多泰国和中国的政要、商界人士。李景河把小儿子李天文派到中 国工作10年,更是眼光超前,李天文通过这10年的积累,已经成为一个中国 通,成为中泰友好的优秀人才。 李景河主席生日全家福。 นายสุชยั วรี ะเมธกี ลุ ฉลองวันคล้ายวันเกิดกบั สมาชิกครอบครวั 李景河传 223 李景河三个公子幼年照:李天才、李天城、李天文。 ภาพในวยั เยาว์ บตุ รชายท้งั สามของนายสชุ ยั วรี ะเมธีกลุ ได้แก่ นายฉตั รชยั นายนครินทร์ ดร.วีระชยั 李景河主席的夫人江玉英女士与公子天才、天城、天文,公主慧君、静君合影留念。 นางสมุ าลี วีระเมธีกุล ภรรยานายสุชยั วรี ะเมธีกุลถ่ายรปู กบั บุตรชาย นายฉัตรชยั นายนครินทร์ ดร.วีระชัย และ บุตรสาว นางสาวนงลักษณ์ และนางสาวฉันทนา วีระเมธกี ลุ 224 李景河传 李景河主席为大公子李天才 举行盛大婚礼,察猜总理主 持仪式、并致贺词。 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ จดั พธิ สี มรส ให้นายฉัตรชัยวีระเมธีกุล บุตร ชายคนโต พลเอกชาตชิ าย ชณุ หะ วณั นายกรฐั มนตรี ใหเ้ กยี รตมิ าเปน็ ประธานในพธิ ี และกลา่ วค�ำ อวยพร 李景河主席大公子李天才全家福。 ครอบครวั ของนายฉตั รชยั วรี ะเมธกี ลุ บตุ รชายคนโตของนายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ 李景河主席二公子李天城全家福。 ครอบครัวของนายนครินทร์ วรี ะเมธีกุล บุตรชายคนรองของนายสชุ ยั วรี ะเมธีกลุ 李景河传 225 李景河主席二公子李天城获朱拉隆功大 学学士学位,与父母等合影留念。 นายนครินทร์ วีระเมธีกุล บุตรชายคน รองของนายสุชัย วีระเมธีกุล สำ�เร็จการ ศึกษาระดับปริญญาตรีจากจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ถา่ ยรปู รว่ มกนั กบั คณุ พอ่ คณุ แม่ 李景河主席长女李慧君全家福。 ครอบครัวของนางนงลักษณ์ บตุ รสาว คนโตของนายสชุ ัย วรี ะเมธีกลุ 李景河主席幼女李慧静全家福。 ครอบครวั ของนางฉนั ทนา บตุ รสาว คนเลก็ ของนายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ 226 李景河传 2007年,李景河主席生日,孙女们在寿宴上合影留念,素拉育·朱拉暖总理等莅临祝贺。 ค.ศ.2007 ในงานจัดเลี้ยงวันคล้ายวันเกิดของนายสุชัย วีระเมธีกุล หลานสาวทั้งหลายมาร่วมถ่าย รูปเป็นที่ระลึก พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี ให้เกียรติ มาร่วมอวยพรด้วย 李景河传 227 回馈社会 成立李景河基金会 2012年,李景河先生已经 86 岁了。86 岁的李景河继续规划自己的人 生,他科学地安排自己的生活,和夫人一起搬到空气清新、绿草如茵的帝苑高 尔夫球场俱乐部住,既锻炼身体又以球会友。他培养接班人,一些可以让孩子 们去做的事情,他就让孩子们去做,明泰集团的具体业务都交给孩子们去经营 和管理。一些社团的职务,他让年轻人来担任,泰中促进投资贸易商会主席早 在几年前已经移交给正大集团副董事长李绍祝了。 李景河是一个很明智的人,一个对生活很认真、很执着的人,他还有一 些事情在进行中谋划中。他的房地产开发的项目还在进行中,国家和社会的事 情他还是非常的关心,他对社会事务,国家事务,尽自己的能力出资出力。生 命健康的运动是他每天必做的功课。友谊是他十分看重的财富。知识是他孜孜 以求的生命永续的源泉。 为了更好地做好社会慈善工作,更好地回馈社会。2005年,李景河基金 会正式成立。李景河博士选择在自己80岁时,成立了李景河基金会,可谓意义 深远。李景河基金会旨在促进社会的繁荣与进步,促进教育的进步及人才的培 养,关爱社会、关注健康,促进人类生存环境的改善,促进生命的和谐与发展 等有意义的公益慈善事业。首期投入一千万泰铢,并将位于帝苑高尔夫球场中 心最好的地段,面积约5莱,价值达七千万泰铢,合计共捐资八千万铢,用于建 设基金会的陈列馆。李景河基金会的成立是李景河博士为自己迈向人生的更高 境界而设定的一个新的目标,他的内心永远年轻,他的精神与境界永远激励后 来者。 有诗赞曰: 翩翩少年出潮汕,暹罗创业美誉扬。 心系社稷敬桑梓,德泽广被邀圣赏。 敏行讷言重信用,淡泊名利四方仰。 业兴家和满门秀,仁者山高水又长。 228 李景河传 中国先贤孔子曰:“仁者乐山,智者乐水。知者动,仁者静。知者乐, 仁者寿。”(《论语•雍也》) 仁厚的人安于义理,仁慈宽容而不易冲动,性情好静就像山一样稳重不 迁;聪明人通达事理,反应敏捷而又思想活跃, 性情好动就像水流不止一般, 他们总是活跃的、乐观的。仁爱之人则和山一样平静,一样稳定,不为外在的 事务所动摇,他们以爱待人接物,像群山一样张开双臂,站得高,看得远,宽 容仁厚,不奴役万物,也不伤害万物,不忧不惧,所以能够长寿。山水各有千 秋,仁智都是我们的追求,即使力不能及,也心向往之。在李景河身上,仁智 两个方面,均有深刻体现。 云山苍苍,江水泱泱。先生之风,山高水长。 李景河传 229 感谢信 本人的传记在诸位亲朋好友的关心和支持下出版了,我感到很欣慰! 传记的出版首先要感谢张九桓大使的提议和支持,并有傅学章大使、张九桓大 使、管木大使、方文国参赞亲自参与修改与校正。感谢柴泽民大使、张德维大 使、李世淳大使、金桂华大使、傅学章大使、晏廷爱大使、张九桓大使、管木 大使、宁赋魁大使等九位大使亲自为本传记题写贺词,其中第十任管木大使阁 下还亲为本传记书题写序言。 我在这里要特别感谢泰国前总理素拉育•朱拉隆阁下和中国前副总理田纪 云阁下为本传记题的贺词。所有这些贺词既是对我的鼓励,也是对我的爱护, 使我深受感动。我与中国驻泰王国历任大使以及中泰两国总理及优秀政治家企 业家有着许多亲切美好的回忆,我与他们一起努力工作,为促进泰中友好经贸 交流合作做了一些力所能及的工作,我感谢他们一直以来对我的爱护、支持与 肯定!我也为自己能够为泰中两国的友好经贸交流与合作尽绵薄之力感到自豪 和欣慰! 该传记本拟在我八十大寿时出版,但是,基于多方面的因素,传记的出 版延迟至到我九十岁的寿诞。中国人对于“九”字是很有好感的,也许是我的 命里与九字有很好的因缘吧,因此,九十大寿出版本书,我觉得正逢其时! 出版传记是把所有的过去变成亲切的回忆,温故而知新,也给后来者 以借鉴和经验。总结了自己旅泰七十年来所做的事情,有很多的感叹!人生如 梦,只有步步为营,才能有所作为。所有的过去都变成了亲切美好的回忆。 在此,我衷心的感谢在我成长、奋斗和追求的过程中,曾经给予我关 心、帮助、鼓励与支持的所有的朋友们,我的亲人们表示衷心的感谢!感恩所 有的善良与美好! 传记的出版将会更加激励我在有生之年尽自己的所能,做一些社会慈善 与教育的工作,、进一步回馈国家和社会。 书 稿 出 版 前 , 承 蒙 原 广 东 省 省 长 卢 瑞 华 先 生 赐 墨 宝 , 题 写 书 名 , 感激至深。 2015年8月8日 230 李景河传 หนงั สือขอบคุณ หนังสือ “ชีวประวัติ” ของข้าพเจ้า เนื่องจากได้รับความสนใจและการสนับสนุน จากญาติๆ เพื่อนๆ ที่รักทั้งหลาย ในที่สุดก็ได้ตีพิมพ์ออกมาแล้ว ข้าพเจ้ารู้สึกดีใจเป็น อย่างยิ่ง การตีพิมพ์ “ชีวประวัติ” ในครั้งนี้ ก่อนอื่นต้องขอขอบคุณท่านทูตจาง จิ่วหวน ที่ให้การเสนอแนะและการสนับสนุน ท่านทูตฟู่ เสวียจาง จาง จิ่วหวน ก่วน มู่ ที่ปรึกษา ฟาง เหวินกั๋ว และท่านทูตจาง กั๋วชิ่ง ต่างมีส่วนร่วมในการเป็นผู้อ่านและแก้ไขต้นฉบับ และยังต้องขอขอบคุณท่านทูตไฉ เจ๋อหมิน หลี่ ซื่อฉูน จิน กุ้ยหัว ฟู่ เสวียจาง เอี้ยน ถิงอ้าย จาง จิ่วหวน จาง เต๋อเหวย ก่วน มู่ หนิง ฟู่ขุย เป็นต้น รวม 9 ท่าน ที่เขียนคำ�อวยพร มาลงใน “ชีวประวัติ” เล่มนี้ด้วยตัวท่านเอง โดยเฉพาะท่านทูตก่วน มู่ ยังช่วยเขียนคำ�นิยม ให้กับ “ชีวประวัติ” เล่มนี้ด้วยตัวท่านเองอีกด้วย ในโอกาสนี้ ข้าพเจ้าต้องขอขอบพระคุณพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรี และนายเถียน จี้หยุน อดีตรองนายกรัฐมนตรีจีนเป็นพิเศษ ที่ท่านทั้งสองได้เขียนคำ�อวยพร มาลงใน “ชีวประวัติ”เล่มนี้ ซึ่งเป็นการให้กำ�ลังใจ และแสดงถึงความรักที่มีต่อข้าพเจ้า ข้าพเจ้ารู้สึกซาบซึ้งใจอย่างยิ่ง ข้าพเจ้ามีความระลึกถึงเอกอัครราชทูตจีนประจำ�ประเทศไทย ทุกคน ตลอดจนนายกรัฐมนตรี ผู้นำ�และนักธุรกิจที่โดดเด่นของประเทศไทยและประเทศ จีนเสมอ เพราะทำ�ให้ข้าพเจ้ามีโอกาสทำ�งานร่วมกับท่านเหล่านั้นเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ และแลกเปลี่ยนเศรษฐกิจการค้าระหว่างไทย-จีนด้วยกันอย่างเต็มความสามารถ ต้องขอบคุณ ที่ท่านทั้งหลายได้ให้การสนับสนุนและยอมรับในการทำ�งานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเองก็รู้สึก ภาคภูมิใจและมีความยินดีที่ได้ทำ�งานการส่งเสริมความร่วมมือและแลกเปลี่ยนเศรษฐกิจการ ค้าระหว่างไทย-จีน ตามความสามารถของตนที่มีอยู่เพียงน้อยนิด หนังสือ “ชีวประวัติ” เล่มนี้ เดิมทีได้วางแผนไว้ว่าจะตีพิมพ์ในวันเกิดครบรอบ 80 ปี ของข้าพเจ้า แต่เนื่องด้วยเหตุปัจจัยหลายประการซึ่งทำ�ให้ต้องล่าช้าออกไป จนกระทั่งถึง วันเกิดครบรอบ 90 ปีของข้าพเจ้าแล้วจึงจะตีพิมพ์แล้วเสร็จ ชาวจีนก็มีความรู้สึกที่ดีต่อเลข “9” หรือว่าดวงของข้าพเจ้ามีบุญสัมพันธ์ที่ดีกับเลข “9” ก็เป็นไปได้ ดังนั้น หนังสือเล่มนี้ ที่ได้ตีพิมพ์ในวัยครบรอบ 90 ปีของข้าพเจ้า ก็นับว่าเหมาะสมดีแล้ว 李景河传 231 หนังสือ “ชีวประวัติ” เล่มนี้ เป็นการระลึกถึงเรื่องในอดีตที่อยู่ใกล้ตัวด้วยภาพและอักษร เป็นการทบทวนเรื่องเก่าเพื่อให้เกิดความรู้ใหม่ มีไว้สำ�หรับศึกษาอ้างอิงของคนรุ่นใหม่ต่อไป ด้วยเป็นการสรุปงานที่ได้ทำ�ไว้เป็นเวลา 70 ปีที่ข้าพเจ้ามาอยู่ประเทศไทย มีเรื่องมากมาย น่าชวนคิด กล่าวคือ ชีวิตนั้นดั่งความฝันต้องมีการวางแผนในทุกๆ ก้าวของชีวิตเท่านั้น จึงจะทำ�อะไรให้ประสบความสำ�เร็จได้บ้าง สิ่งที่ผ่านมาในอดีต จะได้กลายเป็นเรื่องใกล้ตัว ชวนระลึกที่งดงาม ในที่นี้ ข้าพเจ้าขอขอบคุณเพื่อนๆ และญาติๆ ทุกคนที่คอยให้กำ�ลังใจและให้ความ ช่วยเหลือระหว่างการเจริญเติบโตและการทำ�งานเพื่อบรรลุเป้าหมายของข้าพเจ้า ซึ่งเป็นสิ่ง ดีงามที่ข้าพเจ้ารู้สึกซาบซึ้งใจตลอดมา การออกหนังสือ “ชีวประวัติ” เล่มนี้เป็นการให้กำ�ลังใจแก่ข้าพเจ้าเพื่อจะได้ทำ�งาน ด้านการกุศลและการศึกษาแก่สังคมให้มากยิ่งขึ้นตามความสามารถและชีวิตที่ยังมีอยู่ เพื่อเป็นการตอบแทนพระคุณประเทศและสังคมต่อไป นายสุชัย วีระเมธีกุล 8 สิงหาคม 2015 232 李景河传 后记 《李景河传》的写作终于拉下了帷幕。从开始撰写到完成全部的章节, 整整花了六年又四个月的时间,经过不断的增改,校对以及大使馆张九桓大 使、傅学章大使、管木大使、方文国参赞等的修订指正。李景河传》书中的每 一个章节、每一段文字、每一张照片都是在李景河主席的亲自挑选审核下,经 过反复修改完成的。 为了使书稿能更好的反映潮汕文化,经张九桓大使指导,李闻海先生引 荐《汕头日报》辖下《潮商》杂志社主编张更义先生加盟写作,在原稿的基础 上补充、修改并增加了一些内容,特别是关于潮汕文化的内容等。本书在撰写 期间一直得到中华人民共和国驻泰王国大使馆张九桓大使、管木大使的指导与 支持,在此表示衷心的感谢! 撰写这样一部时间长、跨度大、内容丰富的传记,的确不是一件容易的事情, 尤其是要理解李景河主席的思想理念、创业精神、他的为人与追求,以及他过 去九十年来的人生经历是需要有切身的体会和感受才能写出他的真谛的和个中 滋味的! 李景河主席是属于跨世纪的第一代开拓创业型的企业家。他1945 年20岁从中国普宁县流沙镇赵厝寮乡来到暹罗曼谷。1955年,他30岁开 始做小老板。1965-1975年间,他40-50岁进入了人生的黄金阶段,开始 挤身到泰华社会知名的企业家行列且名誉、地位与财富迅速提升,这个 时期的他,受到泰国银行家杨锡坤、陈弼臣、李木川的影响,并与泰国 政 、 军 、 警 界 人 物 有 密 切 的 交 往 , 他 的 业 务 范 围 已 经 扩 大 到 东 南 亚 、 欧美等国,包括印尼、马来西亚、老挝、缅甸、新加坡、美国、欧洲、中国台 湾与香港等。 1975-1985年间,李景河50-60岁,正逢中年的他赶上了泰中建交的新 时期,他积极地投入到了促进泰中友好、泰中经贸交流合作的工作中,他与 察猜•春哈旺外长等五人联合发起创办泰中友好协会,促进泰中友好方面的工 作;1985-1995年,李景河60-70岁,他与泰中企业家联合发起创办“泰中促进 投资贸易商会”,在促进泰中经贸投资交流合作方面做出了宝贵的贡献。他在 这一时期思维特别活跃,事业集大成。1995-2005年,李景河70-80岁,他的个 人事业以及他所从事的社会公益事业与慈善事业都达到了巅峰,社会的荣誉与 李景河传 233 地位以及他的影响力也都达到了新的境界。2005年-2015年,李景河主席的社会 责任感以及慈善精神更加明确! 进入21世纪初,李景河主席90高龄,他特别设立了李景河基金会,确立 了自己晚年的理想、目标和追求。现在已90高寿的他,更加关注生命的健康, 更加关注社会的进步与发展,更加关注“取之于社会、用之于社会”人生理想 境界。 《李景河传》全部有八章,全书有200多张不同历史时期的图片,全部文 字为10多万字。附录中有泰国和中国两国总理的题词,中华人民共和国驻泰王 国历届大使题词。中国驻泰王国现任管木大使阁下特别为本书作序。 本书时间跨度为九十年,其中主要部分是李景河旅泰创业70年的经历与 实践。笔者在写《李景河传》的过程中,深深地为李景河的创业经历以及他所 做的平凡中显示出的不平凡所感动、所鼓舞、所激励! 李景河不仅是泰国一位优秀的企业家,民间外交家,更是一位令人尊敬 的长者,尤其是他在促进泰中友好往来和经贸投资交流合作方面所做出了宝贵 的贡献,他出色的表现和非凡的经历,使他成为中泰两国政府和人民所推崇, 所尊重的海外华人优秀企业家的典范。 李景河主席的事业涉及到泰国的工业、银行业和房地产开发业的进步与 发展的历史,也涉及到中泰建交、中泰友好、中泰经贸往来的历史。他的传记 的出版是很有意义。他的传记主要反映了他旅泰70年的创业与发展的经历,通 过了解他创业的经历以及他的企业发展的历史,可以让年轻一代进一步了解这 一段时期泰中两国经贸交流合作发展的历史,以及一个成功的企业家需要具有 怎样的素质和特质? 李景河的创业精神、做事风格以及人格魅力是很值得年轻人学习的。他 从一个普通的华人通过几十年如一日持续不懈的努力走向了成功,他的经验和 阅历是年轻人应该弥足珍惜的,也是可以载入史册供后代子孙学习借鉴的! 《李景河传》撰稿人:韩宗渭(菡子)、张更义 2018年于曼谷 234 李景河传 บทสรุป อักษรจีนทุกคำ�และภาพถ่ายทุกภาพที่รวบรวมไว้ในหนังสือ “ชีวประวัตินายสุชัย วีระเมธีกุล” เล่มนี้ได้รับการแนะนำ�โดยท่านทูตจาง จิ่วหวน ฟู่ เสวียจาง ก่วน มู่ ที่ปรึกษาฟาง เหวินกั๋วและท่าน ทูตจาง กั๋วชิ่ง (ท่านทูตจาง กั๋วชิ่งดำ�รงตำ�แหน่งเป็นอัครราชทูตที่ปรึกษาขณะอยู่ในประเทศไทย) เป็นต้น คำ�อักษรทุกคำ� เนื้อหาทุกตอนและภาพทุกภาพในหนังสือเล่มนี้ คุณสุชัย วีระเมธีกุลเป็น ผู้กำ�หนด ตรวจสอบและผ่านการปรับปรุงแก้ไขครั้งแล้วครั้งเล่าด้วยตัวท่านเองทั้งสิ้น คุณสุชัย วีระเมธีกุล เป็นนักธุรกิจแบบสร้างสรรค์รุ่นแรกที่ทำ�งานข้ามศตวรรษคนหนึ่ง ท่าน เดินทางจากหมู่บ้านเตี่ยชู่เลี้ยว ตำ�บลหลิ่วซัว อำ�เภอโผวเล้งมาอยู่ประเทศไทยตั้งแต่อายุ 20 ปี (ค.ศ. 1945) ค.ศ. 1955 ท่านอายุ 30 ปี เริ่มตั้งตัวเป็นเถ้าแก่น้อย ระหว่าง ค.ศ. 1965-1975 ท่าน อยู่ในวัย 40-50 ปีซึ่งเป็นช่วงเวลายุคทองของชีวิต เริ่มก้าวสู่วงการนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงในสังคมจีน ของไทย ทั้งในด้านฐานะและกิตติศัพท์ก็เป็นที่เลื่องลือไปทั่ว ในช่วงเวลาดังกล่าว ท่านได้รับอิทธิพล จากนักธนาคารไทย เช่น นายหยาง ซีคุนนายชิน โสภณพนิช และนายชวน รัตนรักษ์ รวมทั้งมี ความสัมพันธ์กับนักการเมือง ทหารและตำ�รวจไทยเป็นอย่างดี ขอบเขตธุรกิจของท่านจึงได้ขยาย ออกไปสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยุโรปและอเมริกา รวมทั้งอินโดนีเซีย มาเลเซีย ลาว พม่า สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา ยุโรป จีน ไต้หวันและฮ่องกง เป็นต้น ระหว่าง ค.ศ. 1975-1985 คุณสุชัย วีระเมธีกุล อยู่ในวัย 50-60 ปี ซึ่งเป็นยุคแห่งการสถาปนา ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างประเทศไทยกับประเทศจีน คุณสุชัย วีระเมธีกุล ได้ทุ่มเทกับงาน ส่งเสริมมิตรภาพความร่วมมือแลกเปลี่ยนทางด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างไทย-จีนอย่างขะมักเขม้น ท่านกับ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และท่านอื่นๆ รวม 5 ท่าน ร่วมกันก่อตั้งสมาคมมิตรภาพไทย-จีน เพื่อส่งเสริมมิตรภาพไทย-จีนเป็นสำ�คัญ ระหว่าง ค.ศ. 1985-1995 คุณสุชัย วีระเมธีกุลอยู่ในวัย 60-70 ปี ท่านกับนักธุรกิจไทย-จีนร่วมกันก่อตั้ง สมาคมส่งเสริมการลงทุนและการค้าไทย-จีน มุ่งทำ�งานด้านส่งเสริมความร่วมมือแลกเปลี่ยนด้าน การลงทุนและเศรษฐกิจไทย-จีน ในช่วงเวลาดังกล่าว ท่านมีความคิดที่หลักแหลมแยบยลอย่างยิ่ง ทำ�ให้ธุรกิจประสบความสำ�เร็จที่ยิ่งใหญ่ ค.ศ. 1995-2015 คุณสุชัย วีระเมธีกุลก้าวสู่วัย 70-90 ปี ในด้านธุรกิจส่วนตัว งานการกุศล เกียรติและสถานะทางสังคมตลอดจนอิทธิพลที่มีอยู่ในตัวท่าน ต่างขึ้นสู่มิติใหม่ของชีวิต ท่านได้ก่อตั้งมูลนิธิสุชัย วีระเมธีกุลขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและอุดมการณ์ของชีวิต บั้นปลาย บัดนี้ท่านเป็นผู้สูงอายุ 90 ปีแล้ว ท่านให้ความสำ�คัญกับสุขภาพและสนใจการพัฒนาของ สังคมมากยิ่งขึ้น รวมทั้งตั้งมั่นอยู่ในอุดมการณ์แห่งชีวิตที่ว่า “ได้มาจากสังคม จงใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม” 李景河传 235 หนังสือ “ชีวประวัตินายสุชัย วีระเมธีกุล” เล่มนี้มี 10 หมวดด้วยกัน ประกอบด้วยภาพถ่าย ของช่วงเวลาแห่งประวัติศาสตร์ที่แตกต่างกันรวม 600 กว่าภาพ เป็นการบันทึกร่องรอยชีวิต การเจริญเติบโตและการพัฒนาทางธุรกิจของท่าน ทั้งยังมีคำ�อวยพรจากนายกรัฐมนตรีไทย-จีน สองประเทศ คำ�จารึกจากเอกอัครราชทูตจีนประจำ�ประเทศไทยทุกสมัย รวมทัง้ เหตกุ ารณส์ �ำ คญั ของ แต่ละยุค เป็นต้น หนังสือชีวประวัติเล่มนี้ก้าวผ่านกาลเวลา 90 ปี ส่วนสำ�คัญของหนังสือคือประสบการณ์และ การสร้างธุรกิจเป็นเวลากว่า 70 ปีที่อยู่ในประเทศไทยของคุณสุชัย วีระเมธีกุล ระหว่างการจัดเก็บ ข้อมูลและภาพถ่ายสำ�หรับหนังสือเล่มนี้ เราต่างรู้สึกซาบซึ้งและเกิดแรงบันดาลใจในประสบการณ์ แห่งการสร้างธุรกิจและการทำ�งานที่ดูเหมือนธรรมดาแต่ไม่ธรรมดาเลยของท่าน คุณสุชัย วีระเมธีกุล ไม่เพียงแต่เป็นนักธุรกิจดีเด่นของประเทศไทยคนหนึ่ง ท่านยังเป็น นักการต่างประเทศของภาคเอกชน ที่สำ�คัญคือท่านเป็นผู้ใหญ่ที่น่าเคารพคนหนึ่ง โดยเฉพาะการ อุทิศตนที่มีคุณค่ายิ่งในด้านการส่งเสริมความร่วมมือแลกเปลี่ยนทางด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่าง ไทย-จีน นับว่าเป็นประสบการณ์และการแสดงออกที่ไม่ธรรมดาของท่าน ท่านยังได้รับการยกย่อง จากรัฐบาลและประชาชนไทย-จีน จนได้ชื่อว่าเป็นผู้นำ�สังคมชาวจีน นักธุรกิจ พ่อตัวอย่าง และ ผู้ใจบุญที่น่าเคารพ เป็นต้น ธุรกิจของคุณสุชัย วีระเมธีกุลมีทั้งด้านอุตสาหกรรม ธนาคารและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้นในประเทศไทย ท่านมีผลงานด้านการสง่ เสรมิ การสถาปนาความสมั พนั ธท์ างการทตู มติ รภาพ และความร่วมมือแลกเปลี่ยนทางด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างไทย-จีนอย่างเด่นชัด หนังสือ ชีวประวัติเล่มนี้ได้สะท้อนให้เห็นการสร้างและการพัฒนาธุรกิจของท่านเป็นเวลากว่า 70 ปี การ ศึกษาเรียนรู้ประสบการณ์ในการสร้างและประวัติในการพัฒนาธุรกิจของท่านนั้น สามารถทำ�ให้ คนรุ่นหลังเข้าใจประวัติศาสตร์ในด้านความร่วมมือแลกเปลี่ยนทางด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่าง ไทย-จีนและเส้นทางในการเจริญเติบโตของนักธุรกิจผู้ประสบความสำ�เร็จคนหนึ่งได้ดียิ่งขึ้น จิตใจในการสร้างธุรกิจ บุคลิกภาพในการทำ�งานและความมีเสน่ห์เฉพาะตัวของคุณสุชัย วีระเมธีกุล นั้นมีคุณค่าแก่การศึกษาสำ�หรับคนรุ่นหลังอย่างมาก จากคนธรรมดาคนหนึ่ง ท่านสามารถประสบความสำ�เร็จด้วยการทำ�งานอย่างพากเพียรต่อเนื่องเป็นเวลาหลายสิบปี ประสบการณ์ของท่านจึงควรค่าแก่การนำ�ไปศึกษาอ้างอิงสำ�หรับคนรุ่นหลังตามสมควร ธารทิพย์ อมรประภาวัฒน์ เรียบเรียง 2018 ณ กรุงเทพฯ 236 李景河传 李景河传 237 李景河先生传 李景河先生,泰籍华人。著名侨领、实业家。泰国明泰集团董事长,泰 中友好协会永远荣誉主席、泰中促进投资贸易商会永远荣誉主席、泰国潮州会 馆荣誉主席、泰京天华慈善医院名誉董事长、曾任泰国国会主席、国务院总理 及经济部、外交部顾问。荣获泰国国王御赐勋章,被授予泰国华侨崇圣大学、 泰国皇太后大学荣誉博士学位。 乙丑年十月初一,先生于中国长大,于弱冠之年由汕头乘船抵曼谷, 从此踏上辉煌的创业和发展之路。初进是隆制冰厂,昼工夜学,半年后擢升经 理。之后与朋友合作,创办他粼铃制冰厂、运输公司,开拓贸易,同时任泰国 经济部泰米公司委任海外部总经理推销泰国大米到世界各国特别是香港、新加 坡、马来西亚等。刚过而立之年,涉足地产及金融,协助杨锡坤先生筹组泰商 银行,被派往香港泰商行任经理。先生之才干,获泰国大城银行董事长李木川 及银行界朋友支持,创办香港工商银行任总经理。不惑之年自主创业,初期, 开始大宗地产买卖,创办泰国第一家电石生产工厂明泰工业电石厂,随之开办 第二家当时东南亚最大的电石厂,并亲向国王陛下呈献制造人工雨产品,得陛 下嘉勉。以明泰电石厂为主,先后开发明泰工业城,成立明泰工业有限公司、 明泰集团。二十世纪八十年代,先生投资买下素汪那奔机场附近的大片土地, 为以后的地产和高尔夫球场建设打好基础。中泰建交后,先生积极拓展与中国 的业务,与中国中央企业合作,成立泰华船务、五洲检验(泰国)、山东鲁泰 纺织、潮泰贸易、长春置地等企业。投资开发曼谷无线电路,兴建明泰、华 润、城市、长春康乐美年及康乐酒店等,为当时曼谷最大建筑群和新地标。在 香港成立康密米业、华亿贸易等公司。为融入中国市场,支持改革开放,九十 年代初,先生在中国开办第一家外商独资银行 “泰华国际银行”。山河虽远, 故国难忘。先生生于战乱,为祖国贫弱而忧心。南渡泰国,艰苦创业,虽海天 阻隔,始终心系中华。上世纪五十年代中期,旅泰侨胞被驱赶到碧差汶府山 区。先生协同泰国中华总商会、张蘭臣主席、七属会馆、华侨报德善堂等侨团 及华文报记者,送去生活物资,慰问难侨并多方奔走,促使政府恢复侨胞安定 生活。先生经常向华侨报德善堂、泰京天华慈善医院、皇太后大学医院、拉玛 提波迪医院及北揽养老院等慈善团体捐款,参与发起创立泰国华侨崇圣大学。 238 李景河传 对千里之外的故乡,先生一直挂心。侨批汇款不断,带头捐款在母校 新建教学楼,赞助汕头市教育基金会建立贫困地区教师福利基金,为潮汕历史 文化研究传播基金会捐款,提议并促成在潮州建立淡浮院,并出任荣誉院长。 新中国成立以后,先生竭力推动泰中建交。两国建交,先生即组织泰国经贸界 人士访华,是为泰中建交后首个访华泰国经贸代表团。先生助力中国改革开 放,解祖国发展资金之困。先生又与差猜外长等联合发起成立泰中友好协会并 任副会长。随后,又发起成立泰中促进投资贸易商会并担任主席。先生在创 业、人生、社会、家庭等各方面都取得非凡成功,成为泰华社会一代翘楚、各 界楷模。先王阿杜德•普密蓬陛下御赐先生一等皇冠大绶勋章,诗琳通公主殿 下颁发皇太后大学荣誉博士。泰国红十字会授予勋章,褒扬先生善举义德。 获邓小平、江泽民、胡锦涛、习近平等中国国家领导人亲切接见,对先生多年 从事泰中友好事业给予高度赞扬。广东省及潮州市汕头市政府先后授予先生 “杰出侨领”、“慈善先生”等荣誉称号。作为特别嘉宾,先生获中国国务院 邀请出席国庆阅兵、香港回归等重要庆典。以地利人和之便,协助中国使馆广 交泰国政、商各界朋友,处理领事保护等突发紧急事务,有“民间友好使者” 之美誉。 先生旅泰七十余载,白手起家,艰苦创业,注重诚信,重义轻利。持家有 道,教子有方。子女上进,传父辈衣钵,忠孝两全。先生与夫人江玉英女士贤 伉俪,育有三男二女。长郎李天才,次郎李天城、幼郎李天文、长媛李慧君、 幼媛李静君,分别管理辖下公司,或担任泰国政党团体领导职务。青出于蓝而 胜于蓝,不断将先生之精神及家族产业发扬光大,造福社会。 静水流深,沧笙踏歌。先生虽届鲐背之年,却始终胸怀一颗赤子之心。一 心专注慈善事业,成立李景河慈善基金会,为泰中友好与人民福祉贡献余力。 砚峰山人 己亥年惊蛰于羊 李景河传 239 ประวตั ิ นายสุชยั วรี ะเมธกี ลุ นายสุชัย วีระเมธกี ุล ด�ำรงต�ำแหนง่ ประธานบริษัท เอม็ ไทย กรุ๊ป จ�ำกดั ประธานกิตตมิ ศกั ดิ์ ตลอดชีพสมาคมมิตรภาพไทยจีน ประธานกิตติมศักดิ์ตลอดชีพสมาคมส่งเสริมการลงทุนและการค้า ไทย-จนี ประธานกติ ตมิ ศกั ดสิ์ มาคมแตจ้ วิ๋ แหง่ ประเทศไทย ประธานกติ ตมิ ศกั ดมิ์ ลู นธิ โิ รงพยาบาลเทยี นฟา้ และยังเคยด�ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมอื งทีส่ �ำคัญ ไดแ้ ก่ ทีป่ รกึ ษาประธานรฐั สภา ท่ปี รึกษานายกรัฐมนตรี ทป่ี รกึ ษารัฐมนตรวี ่าการกระทรวงพาณิชย์ และทีป่ รกึ ษารฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการต่างประเทศ นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ เกดิ เมอื่ วนั ท่ี 5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2468 ไดเ้ รมิ่ ท�ำงานทโี่ รงนำ�้ แขง็ แถวสลี ม และใชเ้ วลาเรยี นหนงั สอื หลงั เลกิ งานเพอื่ แสวงหาความรใู้ หก้ บั ตวั เอง ตอ่ มาไดเ้ ลอื่ นต�ำแหนง่ เปน็ ผจู้ ดั การ หลังจากท�ำงานได้ประมาณคร่ึงปี หลังจากน้ันได้ร่วมลงทุนกับเพ่ือนเปิดกิจการโรงน้�ำแข็งที่ท่าดินแดง เปิดบริษัทขนส่ง และในช่วงเวลาเดียวกันนายสุชัยฯ ได้รับการแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายต่างประเทศบริษัทค้าข้าวของกระทรวงพาณิชย์จ�ำหน่ายข้าวท่ัวโลกโดยเฉพาะฮ่องกง สิงคโปร์ มาเลเซยี พรอ้ มกบั ประกอบธรุ กจิ ดา้ นอสงั หารมิ ทรพั ยแ์ ละดา้ นการเงนิ ขณะเดยี วกนั ไดร้ ว่ มงานกบั นาย เอย้ี เซย้ี ะคนุ ชอื่ ไทย นายคนุ คนุ ผลนิ ในการเตรยี มจดั ตงั้ ธนาคารไทยพฒั นา สาขาแรกอยทู่ ท่ี า่ นำ�้ ราชวงศ์ โดยในเวลาตอ่ มานายสชุ ยั ฯ ไดถ้ กู สง่ ตวั ไปประจ�ำสาขาธนาคารไทยพฒั นาทฮ่ี อ่ งกง และดว้ ยความรคู้ วาม สามารถจงึ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากนายลบี กั ชวง ประธานธนาคารกรงุ ศรอี ยธุ ยา รวมทงั้ เพอื่ นๆในวงการ ธนาคารใหจ้ ดั ต้งั ธนาคารกงซางที่ฮอ่ งกง และได้รบั การแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหนง่ ผู้จดั การใหญ่ ต่อมานายสุชัยฯ ได้เรม่ิ ด�ำเนนิ ธรุ กิจของตนเอง เรมิ่ จากการค้าขายทด่ี นิ ตามมาด้วยการก่อต้งั โรงงานผลิตแคลเซียมคาร์ไบด์ภายใต้ช่ือ “โรงงาน เอ็ม ไทย อินดัสเทรียล” และก่อต้ังโรงงานผลิต แคลเซยี มคารไ์ บดแ์ ห่งท่ีสองในเวลาต่อมา โดยโรงงานแหง่ ท่ีสองน้นี บั เป็นโรงงานท่ีมขี นาดใหญ่ทสี่ ุดใน ภมู ภิ าคเอเชยี และดว้ ยการทเี่ ปน็ เจา้ ของโรงงานผลติ แคลเซยี มคารไ์ บดจ์ งึ มโี อกาสไดน้ �ำแคลเซยี มคารไ์ บด์ ถวายแด่ในหลวง รัชกาลท่ี 9 เพื่อทรงทดลองใช้ในการท�ำฝนเทียม จากกิจการโรงงานผลิตแคลซียม คารไบดไ์ ด้มีการพฒั นาเรอื่ ยมาจนมาสูเ่ มอื งอตุ สาหกรรม เอ็ม ไทย บรษิ ัท เอ็ม ไทย เมอื งอุตสาหกรรม จ�ำกดั และกลุ่มบริษัท เอ็ม ไทย กรปุ๊ ตามล�ำดบั จวบจนกระทง่ั ในปี พ.ศ. 2523 นายสชุ ัยฯ ได้ท�ำการ ซ้อื ที่ดนิ ใกลก้ ับสนามบนิ สุวรรณภูมิ เพ่อื เป็นพน้ื ทีร่ องรบั การสรา้ งหมูบ่ า้ นจัดสรรและสนามกอลฟ์ ในช่วงเวลาต่อมาประเทศไทยได้มีการสร้างสัมพันธไมตรีกับประเทศจีน จึงได้เร่งด�ำเนินการ ขยายธุรกิจไปยังประเทศจีน โดยได้ร่วมมือกับบริษัทธุรกิจส่วนกลางของประเทศจีน ด�ำเนินการก่อตั้ง บรษิ ัทการคา้ เดนิ เรือไทยหวั คือ บริษัท ชโิ นไทย ชปิ ปง้ิ จ�ำกดั และได้มกี ารก่อตง้ั บริษัทเพื่อด�ำเนินธรุ กจิ 240 李景河传 ในด้านตา่ งๆ หลายบริษัท เชน่ บรษิ ัท ซีซี ไอซี (ประเทศไทย) จ�ำกัด บรษิ ทั ทอผา้ ซานตงหลไู่ ท่ บริษทั การคา้ เตย้ี ไทย จ�ำกดั บรษิ ทั ออลซซี นั ส์ พรอ็ พเพอรต์ ี้ จ�ำกดั เปน็ ตน้ นอกจากนไ้ี ดม้ กี ารลงทนุ กอ่ สรา้ ง อาคารและส่ิงปลูกสร้างในที่ดินบริเวณถนนวิทยุ ซึ่งนับเป็นการลงทุนก่อสร้างขนาดใหญ่ท่ีสุดใน กรงุ เทพมหานครยคุ น้ัน เชน่ อาคารเอ็ม ไทย อาคารไชน่า รสี อรท์ คอนโดมเิ นยี ม โรงแรมคอนราด เปน็ ตน้ ไมเ่ พยี งเฉพาะการลงทนุ ในประเทศไทย นายสชุ ยั ฯ ยงั ไดม้ กี ารประกอบธรุ กจิ และกอ่ ตงั้ บรษิ ทั ขนึ้ ท่ฮี ่องกง ได้แก่ บริษัท ค้าข้าว โคเมต ไรซ์ และบริษัท การคา้ หัวอ้ี หรอื บรษิ ทั คอสโก้ จ�ำกดั และ ในช่วงต้นปี พ.ศ.2533 ได้ด�ำเนินการก่อต้ังธนาคารในประเทศจีนด้วยทุนของตนเองเป็นแห่งแรก โดยใช้ช่อื วา่ “ธนาคาร ที เอ็ม อนิ เตอร์เนชั่นแนล” ในด้านบทบาทของการสร้างสัมพันธ์ไทยจีน นายสุชัยฯ ได้มีการชักชวนนักธุรกิจของ ประเทศไทยไปเยอื นประเทศจนี เปน็ ครงั้ แรกภายหลงั จากทป่ี ระเทศไทยไดม้ กี ารเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั ประเทศจีน อีกทั้งให้ความช่วยเหลือประเทศจีนในการแก้ไขปัญหาด้านการพัฒนาเงินทุนในระหว่าง เปิดประเทศ และไดร้ ว่ มกับ พลเอก ชาตชิ าย ชุณหะวณั จดั ตั้งสมาคมมติ รภาพไทยจีนและไดร้ ับแต่ง ต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองประธาน และด�ำเนินการจัดต้ังสมาคมส่งเสริมการลงทุนและการค้าไทย-จีน และไดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหด้ �ำรงต�ำแหนง่ ประธานสมาคม นอกจากนย้ี งั ท�ำหนา้ ทใ่ี นการอ�ำนวยความสะดวก และประสานงานให้กับสถานทตู จีนในการติดตอ่ กับประเทศไทยท้ังในดา้ นการค้าและการเมอื งดว้ ย ตลอดระยะเวลาทน่ี ายสชุ ยั ฯ ใชช้ วี ติ อยทู่ ปี่ ระเทศไทย ไดด้ �ำเนนิ คณุ ปู การอนั เปน็ ประโยชนท์ ง้ั ตอ่ ประเทศไทยและประเทศจนี แตก่ ย็ งั คงมคี วามหว่ งใยประเทศจนี ซง่ึ เปน็ ประเทศบา้ นเกดิ ของตนเอง อยเู่ สมอ โดยไดม้ กี ารบรจิ าคเงนิ สรา้ งอาคารหลงั ใหมใ่ หก้ บั โรงเรยี นทเี่ คยศกึ ษาเลา่ เรยี นใหก้ ารสนบั สนนุ ทุนทรัพย์ในการจัดต้ังสมาคมเงินช่วยเหลือด้านการศึกษาของเมืองซัวเถา เพ่ือเป็นสวัสดิการให้ครูใน เขตพ้ืนท่ยี ากจนของเมอื งซวั เถา มสี ว่ นร่วมในการรณรงคป์ ระชาสมั พนั ธ์ การบริจาคเงนิ สนบั สนุนการ วิจยั ประวัตศิ าสตร์และวฒั นธรรมของเมืองซวั เถา สนับสนนุ ใหม้ กี ารกอ่ ตงั้ วิหารเซยี นที่เมอื งแตจ้ วิ๋ โดย รับเป็นประธานกติ ตมิ ศกั ด์ิ นอกจากนย้ี ังมีเหตุการณ์เม่อื ครง้ั ในชว่ งปี พ.ศ.2493 มีชาวจนี อพยพเขา้ มาอยู่ที่ประเทศไทย แต่ทางการไทยได้ขับไล่ให้ไปอยู่ท่ีจังหวัดเพชรบูรณ์ เม่ือเป็นเช่นนั้นนายสุชัยฯ จงึ ไดเ้ ดนิ ทางรว่ มไปกบั นายกสมาคมหอการคา้ ไทย-จนี นายสหสั มหาคณุ สมาคมจนี 7 สมาคม มลู นธิ ิ ปอเตก็ ตง้ึ และนกั ขา่ วสายภาษาจีน ในการน�ำเคร่ืองใชใ้ นชวี ิตประจ�ำวนั และอาหารไปมอบให้กับชาว จีนอพยพเหล่านั้น พร้อมทงั้ มกี ารรอ้ งขอให้รัฐบาลไทยใหก้ ารดูแลชาวจนี อพยพเหลา่ น้ดี ้วย นอกจาก การช่วยเหลือชาวจีนอพยพดังกล่าวแล้วยังได้มีการบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ยากไร้โดยผ่านองค์กรการ กศุ ล โรงพยาบาล หรอื สถานสงเคราะหต์ า่ งๆ บอ่ ยครงั้ อาทิ มลู นธิ ปิ อเตก็ ตง้ึ มลู นธิ โิ รงพยาบาลเทยี นฟา้ 李景河传 241 โรงพยาบาลศูนยก์ ารแพทยม์ หาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โรงพยาบาลรามาธิบดี และสถานพักฟ้ืนคนชรา ท่ีปากน�้ำ รวมท้ังให้การสนับสนุนด้านการศึกษาโดยร่วมบริจาคเงินในการสร้างมหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรตดิ ว้ ย นายสุชัยฯ เป็นบุคคลท่ีสังคมยกย่องให้เป็นบุคคลต้นแบบของชาวไทยเชื้อสายจีน และด้วย คณุ งามความดี ความซอื่ สตั ย์ และความยดึ มนั่ ในคณุ ธรรม จงึ ไดร้ บั พระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ ประถมาภรณ์มงกุฎไทยจากในหลวง รัชกาลท่ี 9 ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต กติ ตมิ ศกั ดส์ิ าขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ จากมหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง และปรญิ ญาบรหิ ารธรุ กจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ กิตติมศักด์ิจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และได้รับเหรียญประกาศเกียรติคุณจาก สภากาชาดไทย ด้วยความที่เปน็ ผูม้ ีบทบาทส�ำคญั ในการสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งประเทศไทย กับประเทศจีน รัฐบาลเมืองซัวเถา เมืองแต้จิ๋ว มณฑลกวางตุ้ง จึงได้ยกย่องให้นายสุชัยฯ เป็น “ผู้น�ำดีเด่น” “ผู้มีจิตกุศล” และได้รับยกย่องเป็นแขกพิเศษของเมืองและมณฑล ได้รับเกียรติให้เข้า ร่วมรับชมการสวนสนามในวันชาติจีนท่ีประเทศจีน รวมทั้งได้รับเชิญเข้าร่วมพิธีรับเกาะฮ่องกง กลับเข้าสู่การปกครองของประเทศจีน นอกจากนี้ยังได้รับเกียรติให้เข้าพบผู้น�ำของประเทศจีน ไม่ว่าจะเป็นประธานาธิบดีเต้ิงเสี่ยวผิง ประธานาธิบดีเจียงเจ๋อหมิน ประธานาธิบดีหูจิ่นเทา และ ประธานาธิบดสี จี ้นิ ผงิ ในด้านชวี ิตครอบครัว นายสุชัยฯ มคี รอบครวั ที่อบอุ่น ภรรยาคือนางสมุ าลี วีระเมธกี ลุ มบี ุตร ดว้ ยกัน 5 คน เปน็ ผู้ชาย 3 คน และผู้หญิง 2 คน บุตรชายคนโตคอื นายฉตั รชยั วีระเมธีกุล คนท่สี อง คือ นายนครินทร์ วีระเมธีกุล คนที่สามคือ ดร.วีระชัย วีระเมธีกุล ส่วนบุตรสาวคนโตคือ นางสาว นงลกั ษณ์ วรี ะเมธกี ลุ และนางสาวฉนั ทนา วรี ะเมธกี ลุ โดยทกุ คนตา่ งรบั หนา้ ทใี่ นการดแู ลกจิ การบรษิ ทั และมบี างคนเปน็ นกั การเมอื ง ซง่ึ นายสชุ ยั ฯ ไดอ้ บรมเลยี้ งดบู ตุ รหลานโดยอบรมสงั่ สอนบตุ รหลานทกุ คนใหย้ ึดม่นั ในเรือ่ งของความซ่อื สัตย์ มีคณุ ธรรม และมีความกตญั ญู นายสชุ ยั วีระเมธีกุล อาศยั อยทู่ ปี่ ระเทศไทยเป็นเวลามากกวา่ 70 ปี และได้ด�ำเนนิ การจัดตง้ั มูลนิธิวีระเมธีกุล ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการมูลนิธิ ก่อต้ังเม่ือวันท่ี 30 มีนาคม พ.ศ.2552 ณ อาคารซีทีไอทาวเวอร์ เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือและสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศไทยและ ประเทศจีน และเพ่อื ความอยู่ดมี สี ขุ ของประชาชนของทั้งสองประเทศ 242 李景河传 李景河70年荣获的社会荣誉职衔(1945-2015) ต�ำ แหนง่ อนั ทรงเกยี รตขิ องนายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ ในเวลา 70 ปี 泰皇钦赐 一等皇冠大绶勋章 ไดร้ บั พระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ ประถมาภรณม์ งกฎุ ไทยจากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั 泰国红十字会 勋章 ไดร้ บั เหรยี ญเกยี รตคิ ณุ จากสภากาชาตไิ ทย 泰皇钦赐淡浮院 名誉院长 ไดร้ บั พระราชทานเปน็ ผอู้ �ำ นวยการกติ ตมิ ศกั ดว์ิ หิ ารเซยี นจากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั 泰国华侨崇圣大学 创办人之一 หนง่ึ ในผกู้ อ่ ตง้ั มหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ 泰国华侨崇圣大学 荣誉博士 ไดร้ บั ปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดจ์ิ ากมหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ 泰国皇太后大学 荣誉博士 ไดร้ บั ปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดจ์ิ ากมหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง 前泰国国会主席 顾问 ทป่ี รกึ ษาอดตี ประธานรฐั สถา 前泰国国务院院长 顾问 ทป่ี รกึ ษาอดตี นายกรฐั มนตรี 前泰国外交部部长 顾问 ทป่ี รกึ ษาอดตี รฐั มนตรกี ระทรวงการตา่ งประเทศ 前泰国经济部长 顾问 ทป่ี รกึ ษาอดตี รฐั มนตรกี ระทรวงพาณชิ ย์ 李景河传 243 泰中友好协会 创办人 副会长 永远荣誉主席 ผกู้ อ่ ตง้ั รองนายกและนายกกติ ตมิ ศกั ดถ์ิ าวร สมาคมมติ รภาพไทย-จนี 泰中促进投资贸易商会 创办人 主席 永远荣誉主席 ผกู้ อ่ ตง้ั นายกและนายกกติ ตมิ ศกั ดถ์ิ าวร สมาคมสง่ เสรมิ การลงทนุ และการคา้ ไทย-จนี 泰国潮州会馆 荣誉主席 ประธานกติ มิ ศกั ด์ิ ถาวร สมาคมแตจ้ ว๋ิ ในประเทศไทย 泰京天华慈善医院 名誉主席 ทป่ี รกึ ษากติ ตมิ ศกั ดอ์ิ าวโุ สโรงพยาบาลเทยี นฟา้ มลู นธิ ิ 中国对外贸易理事会 副理事长(北京) รองประธานคณะกรรมการการคา้ ระหวา่ งประเทศแหง่ ประเทศจนี (นครปกั กง่ิ ) 中国经贸理事会 副理事长(北京) รองประธานคณะกรรมการเศรษฐกจิ และการคา้ แหง่ ประเทศจนี (นครปกั กง่ิ ) 国际市场理事会 副 ฮ理事长(上海) รองประธานคณะกรรมการดา้ นการตลาดระหวา่ งประเทศ (นครเซย่ี งไฮ)้ 中国进出口商品检验协会 顾问(北京) ทป่ี รกึ ษาสมาคมตรวจสอบสนิ คา้ น�ำ เขา้ และสง่ ออกแหง่ ประเทศจนี (นครปกั กง่ิ ) 中国中资机构商会 顾问(曼谷) ทป่ี รกึ ษาสมาพนั ธห์ อการคา้ องคก์ รทนุ ฝา่ ยจนี ประเทศจนี (กรงุ เทพ) 中国商务委员会 顾问(曼谷) ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมการการคา้ แหง่ ประเทศจนี (กรงุ เทพ) 中国汕头教育基金会 名誉会长 นายกกติ ตมิ าศกั ด์ิ มลู นธิ เิ พอ่ื การศกึ ษาเมอื งซวั เถา ประเทศจนี 中国潮汕历史文化研究传播基金会 名誉会长 นายกกติ ตมิ าศกั ด์ิ มลู นธิ เิ พอ่ื การวเิ คราหะ์ ประชาสมั พนั ธประวตั ศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรมแตจ้ ว๋ิ แหง่ ประเทศจนี 244 李景河传 附录 ภาคผนวก 李景河70年创办的企业(1945-2015) ธรุ กจิ ท่ีนายสชุ ัย วีระเมธีกลุ เปน็ ผู้กอ่ ตง้ั ในเวลา 70 ปี 1. 明泰集团有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั เอม็ .ไทย กรปุ๊ จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 2. 明泰电石有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั เอม็ .ไทย อนิ ดสั เทรยี ล จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 3.香港工商银行 董事、经理 创办人 ธนาคาร คอมเมอรเ์ ชยี ล ฮอ่ งกง ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 4.泰华国际银行上海总行 董事长 创办人 ธนาคาร ทเี อม็ อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนลแบงก ์ ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 5.明泰工业城有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั เอม็ .ไทย เมอื งอตุ สาหกรรม จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 6.明泰博览城有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั เอม็ .ไทย เอก๊ ซโ์ ป จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 7.美地有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั ศริ กิ ลุ เมธกี ลุ จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 8.丽景有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั ล.ี เค จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 9.暹罗挽那地产有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั สยาม บางนาแลนด์ จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 10. 帝苑高尔夫球场 董事长 创办人 สนามกอลฟ์ เดอะ รอยลั กอลฟ์ แอนด์ คนั ทรี คลบั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 李景河传 245 11.长春广场有限公司 名誉董事长 创办人 บรษิ ทั ออลซซี น่ั ส์ พรอ็ พเพอรต์ ้ี จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 12.泰华船务有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั ไทยเดนิ เรอื จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 13.泰北企业有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั ไทเ่ ปย่ อนิ ดสั ทรี จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 14.潮泰企业有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั เตย้ี ไ ทย จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 15.五洲检验有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั ซซี ไี อซี จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 16. 香港康密米业有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั โคมติ ไรซ์ ฮอ่ งกง จ�ำ กดั ประธานกรรมการและผกู้ อ่ ตง้ั 17.信明华置业有限公司 董事长 创办人 บรษิ ทั ซเี มวา เรยี ลเอสเตท จ�ำ กดั ประธานและผกู้ อ่ ตง้ั 18. 鲁泰纺织有限公司 董事 创办人 บรษิ ทั ไทยรงุ่ เทก็ ซไ์ ทล์ จ�ำ กดั กรรมการและผกู้ อ่ ตง้ั 246 李景河传 李景河交往的泰国十八 任总理 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ กบั นายกรฐั มนตรี 18 สมยั 中文姓名 泰文姓名 在任时间 ชอ่ื -สกลุ ภาษาจนี ชอ่ื -สกลุ ภาษาไทย ระยะเวลาด�ำ รงต�ำ แหนง่ 1、他侬·吉滴卡宗元帅 2、社尼·巴莫亲王 จอมพลถนอม กติ ตขิ จร 1958-1973 3、克立·巴莫亲王 หมอ่ มราชวงศ์ เสนยี ์ ปราโมทย์ 1974-1975 หมอ่ มราชวงศค์ กึ ฤทธ ์ิ ปราโมทย์ 1975-1976 4、坚塞·参玛喃上将 พลเอกเกรยี งศกั ด์ิ ชมะนนั ท์ 1977-1980 5、秉·丁素拉暖上将 พลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ 1980-1988 6、察猜·春哈旺上将 พลเอกชาตชิ าย ชณุ หะวณั 1988-1991 7、亚南·班耶拉春 นายอานนั ท์ ปญั ญารชนุ 8、素真拉·卡巴允上将 1991-1992 พลเอกสจุ นิ ดา คราประยรู 1992-1992 นายชวน หลกี ภยั 9、川·里派 1992-1995 10、挽限·信拉巴亚差 11、差哇立·荣智育上将 นายบรรหาร ศลิ ปอาชา 1995-1996 พลเอกชวลติ ยงใจยทุ ธ 1996-1997 12、川·里派 นายชวน หลกี ภยั 1997-2000 13、塔信·秦那越警中校 พนั ต�ำ รวจโท ดร. ทกั ษณิ ชนิ วตั ร 2001-2006 พลเอกสรุ ยทุ ธ์ จลุ านนท์ 14、素拉育·朱拉暖上将 2006-2007 15、阿披实·威差栖哇 นายอภสิ ทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ 2009-2011 16、巴育·赞奧差上将 พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา 2014-2015 17、巴育·赞奧差上将 พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา 2019-2019 18、巴育·赞奧差上将 พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา 2019-至今 李景河传 247 李景河交往的中国驻泰国十二任大使 นายสชุ ยั วรี ะเมธกี ลุ กบั เอกอคั รราชทตู จนี ประจ�ำ ประเทศไทย 12 สมยั 中文姓名 泰文姓名 在任时间 ชอ่ื -สกลุ ภาษาจนี ชอ่ื -สกลุ ภาษาไทย ระยะเวลาด�ำ รงต�ำ แหนง่ 1、 柴泽民大使 นายไฉ เจอ๋ หมงิ 1976~1978 2、 张伟烈大使 นายจาง เหวย่ เลย่ี 1978~1981 3、 沈平大使 นายเสน่ิ ผงิ 1981~1985 4、 张德维大使 นายจาง เตอ๋ เหวย 1985~1989 5、 李世淳大使 นายหล่ี ซอ่ื ฉนู 1989~1993 6、 金桂华大使 นายจนิ กยุ้ หวั 1993~1997 7、 傅学章大使 นายฟู่ เสวยี จาง 1997~2001 8、 晏廷爱大使 นายเอย้ี น ถงิ อา้ ย 2001~2004 9、 张九桓大使 นายจาง จว่ิ หวน 2004~2008 10、管木大使 นายกว่ น ม ู่ 2009~2013 11、宁赋魁大使 นายหนงิ ฟขู่ ยุ 2013­~2017 12. 吕健大使 2017~至今 Mr. LU JIAN 248 李景河传